ขนาด
มรดกแห่งอาเซียน
  • 24 สิงหาคม 2556
  • 1,713

นิยามและการประกาศ

อุทยานมรดกอาเซียน (ASEAN Heritage Parks)
          
จัดเป็นพื้นที่คุ้มครองทางทะเลระดับภูมิภาคที่เกิดขึ้นภาคใต้ความร่วมมือของประเทศอาเซียน โดยที่ประชุมรัฐมนตรีสิ่งแวดล้อมของอาเซียน ครั้งที่ 13 เมื่อวันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ.2546 ที่กรุงย่างกุ้ง ประเทศพม่า ได้รับรองปริญญาอาเซียนว่าด้วยอุทยานมรดกอาเซียน วัตถุประสงค์ของการจัดตั้งอุทยานมรดกอาเซียน มีดังนี้
​          1. เพื่อสร้างระบบการบริหารจัดการ การดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติทั้งทางบกและทางทะเล ตลอดจนแหล่งนันทนาการในพื้นที่มรดกแห่งอาเซียนให้คงอยู่และอำนวยประโยชน์ตลอดไป โดยมีเป้าหมายให้เกิดกลไก รูปแบบ และแผนการจัดการในพื้นที่
​          2. เพื่อลดปัญหาความขัดแย้งของการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ปัญหาการบุกรุกและการถือครองที่ดิน ภายในเขตอุทยานมรดกแห่งอาเซียน โดยกระบวนการตรวจสอบและดำเนินการให้ถูกต้องตามกฎหมาย
​          3. เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตลอดจนความสำคัญของอุทยานมรดกแห่งอาเซียนให้กับประชาชนทั่วไป ชุมชน นักเรียน นักศึกษา และนักท่องเที่ยว
​          4. เพื่อส่งเสริมให้เกิดการค้นคว้า ศึกษาวิจัยและหาความรู้เกี่ยวกับระบบนิเวศ ทั้งทางบกและทางทะเล

องค์ความรู้ที่น่าสนใจ
  • ความหลากหลายชีวภาพ
    ความหลากหลายชีวภาพ
  • ป่าชายหาดและป่าพรุ
    ป่าชายหาดและป่าพรุ
  • เกาะในประเทศไทย
    เกาะ หมายถึง บริเวณที่ดิน หิน หรือทรายที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ ล้อมรอบด้วยน้ำและอยู่เหนือน้ำตลอดเวลา ทั้งนี้เกาะอาจอยู่ในทะเล แม่น้ำ หรือที่ลุ่มขัง เช่น บึง หรือทะเลสาบก็ได้
  • ปะการังฟอกขาว
    ปะการังฟอกขาว เป็นสภาวะที่ปะการังสูญเสียสาหร่ายเซลล์เดียวที่อาศัยอยู่ภายในเนื้อเยื่อ ทำให้ปะการังอ่อนแอเพราะได้รับสารอาหารไม่เพียงพอแลปะการังอาจตายไปในที่สุดถ้าหากไม่สามารถทนต่อสภาวะนี้ได้
  • วาฬบรูด้า
    วาฬบรูด้า
  • สมุทรศาสตร์
    สมุทรศาสตร์
  • หาดในประเทศไทย
    จากการสำรวจแหล่งธรรมชาติประเภทหาดทรายทั่วประเทศ ของกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในปี 2560 พบว่ามีชายหาดรวม 521 แห่ง กระจายตัวอยู่ในพื้นที่ 21 จังหวัด โดยอยู่ทางฝั่งอ่าวไทย 360 แห่ง แบ่งเป็นชายหาดที่อยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติ (กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช) 49 แห่ง อยู่ในความรับผิดชอบของหน่วยงานอื่นๆ เช่น ท้องถิ่น กองทัพเรือ และส่วนราชการอื่นๆ อีก 311 แห่ง สำหรับข้อมูลชายหาดฝั่งทะเลอันดามัน พบว่ามีชายหาด 161 แห่ง อยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติ 78 แห่ง นอกเขตอุทยานแห่งชาติ 83 แห่ง
  • คลื่นย้อนกลับ Rip Currents
    กระแสน้ำรูปเห็ด
  • เต่ามะเฟือง
    เต่ามะเฟือง