ขนาด
เต่าทะเล
  • 21 เมษายน 2557
  • 182
เต่าทะเล สารสนเทศ ทช. ศูนย์ข้อมูลกลาง ทช.

มาตรการลดผลกระทบการเกยตื้นเต่าทะเล

          สืบเนื่องจากกรณีการเกยตื้นของสัตว์ทะเลหายาก (ปลาวาฬ/โลมา เต่าทะเล พะยูน) ในหลายพื้นที่ นับเป็นภารกิจที่กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งได้ให้ความสำคัญ จึงมีการระดมสมองจากนักวิชาการที่เกี่ยวข้องของทั้งภายในและภายนอกหน่วยงานขึ้นเป็นการเร่งด่วนรวม 2 ครั้ง

ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2557 ณ ห้องประชุม ศูนย์อนุรักษ์ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งที่ 5 (จ. ภูเก็ต)

ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2557 ณ ห้องประชุม ศูนย์วิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งอ่าวไทยตอนล่าง (จ.สงขลา)

          ในการนี้ทางกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งได้สรุปสาเหตุปัญหา และมาตรการลดผลกระทบจากการเกยตื้นของสัตว์ทะเลหายาก (ปลาวาฬ/โลมา เต่าทะเล พะยูน) ขึ้น พร้อมทั้งเสนอเป็นมาตรการเร่งด่วนในการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นรูปธรรมตามข้อสรุปประเด็นสำคัญของสถานการณ์สัตว์ทะเลหายากเกยตื้นรวม 12 ประเด็น ได้แก่

     1) สาเหตุการตายของสัตว์ทะเลหายาก

     2) องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการเกยตื้นและการตายของสัตว์แต่ละชนิด

     3) ถิ่นที่อยู่อาศัย ควรมีข้อมูลที่ชัดเจนของสัตว์ประจำถิ่นแต่ละชนิด

     4) การแต่งตั้งคณะทำงาน/คณะกรรมการ

     5) การสร้างเครือข่ายและกระบวนการมีส่วนร่วม

     6) การจัดทำแผนงาน/ยุทธศาสตร์

     7) การเตรียมการในการกำหนดมาตรการและพื้นที่คุ้มครอง

     8) การพัฒนาบุคลากร

     9) ศูนย์ช่วยชีวิต (Rescue Center)

     10) ความร่วมมือในระดับภูมิภาคอาเซียนและพื้นที่ต่อเนื่อง

     11) แนวทางการเพาะขยายพันธ์

     12) ประเด็นอื่นที่เกี่ยวข้อง

โดยมีรายละเอียดสรุปได้ ดังตารางต่อไปนี้

Download : MESU Standing Measurement

MESU Measurement01

MESU Measurement02

MESU Measurement03

MESU Measurement04

MESU Measurement05

หมายเหตุ ชื่อย่อหน่วยงาน

สวพ. หมายถึง สถาบันวิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเล ชายฝั่งทะเล และป่าชายเลน สทช. หมายถึง สำนักอนุรักษ์ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง

องค์ความรู้ที่น่าสนใจ
  • ปลานกแก้ว
    ปลานกแก้ว
  • PMBC Special Publication
    PMBC Special Publication
  • พ.ร.บ. ทช.
    พ.ร.บ. ทช.
  • นกในเขตชายฝั่งทะเล
    นกในระบบนิเวศชายฝั่งทะเล
  • ความหลากหลายชีวภาพ
    ความหลากหลายชีวภาพ
  • แมงกะพรุนพิษ
    เป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง จัดอยู่ในไฟลัมไนดาเรีย (Cnidaria) เช่นเดียวกันกับดอกไม้ทะเล (sea anemones) และปะการัง แมงกะพรุนที่พบได้บ่อยที่สุดจัดอยู่ในกลุ่ม Scyphozoa
  • ปะการัง
    เป็นแนวหินปูนใต้ทะเลในระดับน้ำตื้นที่แสงแดดส่องถึง หินปูนดังกล่าวเป็นผลมาจากการเจริญเติบโตของปะการังหลายๆ ชนิด นอกจากนี้ ยังมีสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
  • ขยะทะเล
    ขยะทะเล
  • คลื่นย้อนกลับ Rip Currents
    กระแสน้ำรูปเห็ด