ขนาด
วาฬบรูด้า
  • 24 มีนาคม 2564
  • 279

ศูนย์ช่วยเหลือวาฬบรูด้า

หน่วยงานของกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ที่รับแจ้งข่าวสารหรือเป็นหน่วยช่วยเหลือ เก็บรวบรวมข้อมูล และตัวอย่างของพะยูน ประกอบด้วย

สำนักงานใหญ่

1. สถาบันวิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ที่ตั้ง ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ ถนนแจ้งวัฒนะ ทุ่งสองห้อง หลักสี่ กทม. 10210 เบอร์โทรศัพท์ 0 2141 1333

2. กองอนุรักษ์ทรัพยากรทางทะเล ที่ตั้ง ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ ถนนแจ้งวัฒนะ ทุ่งสองห้อง หลักสี่ กทม. 10210 เบอร์โทรศัพท์ 0 2141 1341

สำนักงานของศูนย์วิจัยทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งในพื้นที่ 7 แห่ง

1. ศูนย์วิจัยทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งอ่าวไทยตะวันออก (จ.ระยอง) ที่ตั้ง 309 หมู่ 1 ตำบลปากน้ำประแส อำเภอแกลง จังหวัดระยอง 21170 เบอร์โทรศัพท์ 038 661 693-4 

2. ศูนย์วิจัยทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งอ่าวไทยตอนบนฝั่งตะวันออก (จ.ฉะเชิงเทรา) ที่ตั้ง 58/5 หมู่ 8 ตำบลสองคลอง อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา 24130 เบอร์โทรศัพท์ 038 554 339

3. ศูนย์วิจัยทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งอ่าวไทยตอนบนฝั่งตะวันตก (จ.สมุทรสาคร) ที่ตั้ง 120/1 หมู่ 6 ตำบลบางหญ้าแพรก อ.เมือง จังหวัดสมุทรสาคร 74000 เบอร์โทรศัพท์ 034-497074 

4. ศูนย์วิจัยทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งอ่าวไทยตอนกลาง (จ.ชุมพร) ที่ตั้ง 9 หมู่ 7 ตำบลนาทุ่ง อำเภอเมือง จังหวัดชุมพร 86000 เบอร์โทรศัพท์ 077 510 213-4 

5. ศูนย์วิจัยทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งอ่าวไทยตอนล่าง (จ.สงขลา) ที่ตั้ง 158 หมู่ 8 ตำบลพะวง อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา 90100 เบอร์โทรศัพท์ 074 307 079  

6. ศูนย์วิจัยทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งทะเลอันดามันตอนบน (จ.ภูเก็ต) ที่ตั้ง 51 หมู่ 8 ตำบลวิชิต อำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต 83000 เบอร์โทรศัพท์ 076 391 128 

7. ศูนย์วิจัยทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งทะเลอันดามันตอนล่าง (จ.ตรัง) ที่ตั้ง 179 หมู่ 8 ตำบลไม้ฝาด อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง 92150 เบอร์โทรศัพท์ 08 1598 0111 

สำนักงานทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งที่ 1 - 10 (รวม 10 แห่ง)

1. สำนักงานทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งที่ 1 (ระยอง) ที่ตั้ง 111/26 หมู่ที่ 5 ตำบลเชิงเนิน อำเภอเมือง จังหวัดระยอง 21000 เบอร์โทรศัพท์ 038 020 070

2. สำนักงานทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งที่ 2 (ชลบุรี) ที่ตั้ง 301 หมู่ 2 ตำบลเสม็ด อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี 20000 เบอร์โทรศัพท์ 038 467 372-3

3. สำนักงานทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งที่ 3 (เพชรบุรี) ที่ตั้ง 246/2 ถ.เจ้าสวาย ตำบลชะอำ อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี 76120 เบอร์โทรศัพท์ 032 470 459

4. สำนักงานทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งที่ 4 (สุราษฎร์ธานี) ที่ตั้ง 120/20 หมู่ที่ 7 ตำบลกระแดะ อำเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี 84160 เบอร์โทรศัพท์ 077 379 151

5. สำนักงานทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งที่ 5 (สงขลา) ที่ตั้ง 54/1 หมู่ที่ 1 ตำบลเกาะยอ อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา 90100 เบอร์โทรศัพท์ 074 591 626

6. สำนักงานทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งที่ 6 (พังงา) ที่ตั้ง 715/5 ถ.เพชรเกษม ตำบลท้ายช้าง อำเภอเมือง จังหวัดพังงา 82000 เบอร์โทรศัพท์ 076 679 131

7. สำนักงานทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งที่ 7 (ตรัง) ที่ตั้ง 16 ถ.ป่าไม้ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง 92110 เบอร์โทรศัพท์ 075 252 850

8. สำนักงานทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งที่ 8 (สมุทรสาคร) ที่ตั้ง 125 หมู่ 8 ต.โคกขาม อ.เมือง จ.สมุทรสาคร 74000 เบอร์โทรศัพท์ 034 871 253

9. สำนักงานทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งที่ 9 (ปัตตานี) ที่ตั้ง 297/75-76 ต.รูสะมิแล อ.เมืองปัตตานี จ.ปัตตานี 94000 เบอร์โทรศัพท์ 073 710 767

10. สำนักงานทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งที่ 10 (กระบี่) ที่ตั้ง 222 หมู่ที่ 5 ต.อ่าวนาง อ.เมือง จ.กระบี่ 81180 เบอร์โทรศัพท์ 075 637 589

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

1. สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา ที่ตั้ง 169 ถนนลงหาดบางแสน ตำบลแสนสุข อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี 20131 เบอร์โทรศัพท์ 038 391 671-3 http://www.bims.buu.ac.th/

 

องค์ความรู้ที่น่าสนใจ
  • แมงกะพรุนพิษ
    เป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง จัดอยู่ในไฟลัมไนดาเรีย (Cnidaria) เช่นเดียวกันกับดอกไม้ทะเล (sea anemones) และปะการัง แมงกะพรุนที่พบได้บ่อยที่สุดจัดอยู่ในกลุ่ม Scyphozoa
  • น้ำมันรั่วไหล
    การเกิดน้ำมันรั่วไหล (Oil spill) ในทะเล และชายฝั่งอาจเกิดจากกิจกรรมต่าง ๆ ได้แก่ การขุดเจาะและขนส่งน้ำมัน การเดินเรือ การล้างถังอับเฉาเรือ ลักลอบทิ้งน้ำที่มีน้ำมันปนเปื้อนหรือน้ำมันที่ใช้แล้ว
  • นกในเขตชายฝั่งทะเล
    นกในระบบนิเวศชายฝั่งทะเล
  • อุทยานใต้ทะเล
    อุทยานใต้ทะเล
  • เต่ามะเฟือง
    เต่ามะเฟือง
  • ทุ่นในทะเล
    ทุ่นในทะเล
  • หาดในประเทศไทย
    จากการสำรวจแหล่งธรรมชาติประเภทหาดทรายทั่วประเทศ ของกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในปี 2560 พบว่ามีชายหาดรวม 521 แห่ง กระจายตัวอยู่ในพื้นที่ 21 จังหวัด โดยอยู่ทางฝั่งอ่าวไทย 360 แห่ง แบ่งเป็นชายหาดที่อยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติ (กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช) 49 แห่ง อยู่ในความรับผิดชอบของหน่วยงานอื่นๆ เช่น ท้องถิ่น กองทัพเรือ และส่วนราชการอื่นๆ อีก 311 แห่ง สำหรับข้อมูลชายหาดฝั่งทะเลอันดามัน พบว่ามีชายหาด 161 แห่ง อยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติ 78 แห่ง นอกเขตอุทยานแห่งชาติ 83 แห่ง
  • น้ำทะเลเปลี่ยนสี
    ปรากฎการณ์น้ำเปลี่ยนสีเกิดจากการเพิ่มปริมาณสารอาหารบริเวณชายฝั่ง ซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้แพลงก์ตอนเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว ปริมาณสารอาหารที่เพิ่มขึ้นส่วนใหญ่นั้นมักเกิดจากกิจกรรมของมนุษย์
  • กัดเซาะชายฝั่ง
    ประเทศไทยมีชายฝั่งทะเลยาวประมาณ 3,151 กิโลเมตร ครอบคลุมจังหวัดชายฝั่งทะเล 23 จังหวัดโดยชายฝั่งทะเลด้านอ่าวไทย มีความยาว 2,040 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ 17 จังหวัด และชายฝั่งทะเลด้านอันดามัน มีความยาว 1,111 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ชายฝั่งทะเลรวม 6 จังหวัด