ขนาด
แมงกะพรุนพิษ
  • 15 สิงหาคม 2560
  • 296
แมงกะพรุนพิษ สารสนเทศ ทช. ศูนย์ข้อมูลกลาง ทช.

องค์ความรู้เกี่ยวกับแมงกะพรุนพิษ

          กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง (ทช.) ได้ดำเนินการสำรวจ ศึกษาชนิดและการแพร่กระจายของแมงกะพรุน ระหว่างปี พ.ศ. 2553–2563 ครอบคลุมพื้นที่จังหวัดชายฝั่งทะเลอันดามัน และอ่าวไทย รวม 22 จังหวัด ยกเว้นกรุงเทพมหานครและจังหวัดพัทลุง พบแมงกะพรุนประมาณ 32 ชนิดในน่านน้ำไทย ประกอบด้วย ในกลุ่ม Cubozoa หรือแมงกะพรุนกล่อง 9 ชนิด แมงกะพรุนในกลุ่ม Scyphozoa 18 ชนิด และในกลุ่ม Hydrozoa 5 ชนิด แสดงใน ตารางที่ 1 ทั้งนี้เป็นแมงกะพรุนพิษหรือสงสัยว่ามีพิษจำนวน 9 ชนิด เป็นแมงกะพรุนในกลุ่ม Cubozoa หรือแมงกะพรุนกล่อง 6 ชนิด ได้แก่ Morbakka sp. A, Carukiidae (unidentifiable), Chironex indrasaksajiae, Chironex sp. A, Chiropsoides buitendijki และ Alatina morandinii (Alantinidae) แมงกะพรุนในกลุ่ม Scyphozoa 2 ชนิด ได้แก่ แมงกะพรุนไฟ Chrysaora sp. และ Pelagia sp. และแมงกะพรุนในกลุ่ม Hydrozoa 1 ชนิด คือ แมงกะพรุนหัวขวด Physalia sp. (รูปที่ 1 และ 2) ทั้งนี้ความเป็นพิษของแมงกะพรุนที่พบในน่านน้ำไทยแสดงใน ตารางที่ 2


รูปที่ 1 การแพร่กระจายของแมงกะพรุนพิษในน่านน้ำไทย

 

หมายเหตุ : *แมงกะพรุนที่มีพิษและสงสัยว่ามีพิษ **แมงกะพรุนที่กินได้
                  ตัวปกติ: รอศึกษาตามหลักอนุกรมวิธาน เพื่อตรวจสอบและสอบทานชนิด
​                  ตัวหนา: ลักษณะสัณฐานภายนอกได้รับการยืนยัน อยู่ระหว่างการวิเคราะห์ DNA หรือจัดทำผลงานวิชาการหรือเสนอตีพิมพ์ผลงานวิชาการ
​                  ตัวอักษรสีน้ำเงิน: ลักษณะสัณฐานภายนอกและ DNA ได้รับการยืนยัน ผลงานวิชาการได้รับการตีพิมพ์แล้ว ตาม 1–2
​                  ตัวหนังสือสีแดง: รูปภาพอ้างอิงจาก 1–3
​                  1: Collins, A. G., Jarms, G., Morandini, A. C. (2021). World List of Scyphozoa. Phyllorhiza pacifica (Light, 1921). Accessed through: World Register of Marine Species at: https://www.marinespecies.org/aphia.php?p=taxdetails&id=287184 on 2021-09-07
​                  2: Toshino, S., Miyake, H., Srinui, K., Luangoon, N., Muthuwan, V., Sawtpeera, S., Honda, S. and Shibata, H. 2017. Development of Tripedalia binata Moore, 1988 (Cubozoa: Carybdeida: Tripedaliidae) collected from the eastern Gulf of Thailand with implications for the phylogeny of the Cubozoa. Hydrobiologia 792: 37–51.
​                  3: Toshino, S., Nishikawa, J., Srinui, K., Taleb, S. and Miyake, H. 2019. New records of two species of Cubozoa from Thailand. Plankton and Benthos Research 14(3): 143–149.

หมายเหตุ : *แมงกะพรุนที่มีพิษและสงสัยว่ามีพิษ **แมงกะพรุนที่กินได้
                  ตัวปกติ: รอศึกษาตามหลักอนุกรมวิธาน เพื่อตรวจสอบและสอบทานชนิด
​                  ตัวหนา: ลักษณะสัณฐานภายนอกได้รับการยืนยัน อยู่ระหว่างการวิเคราะห์ DNA หรือจัดทำผลงานวิชาการหรือเสนอตีพิมพ์ผลงานวิชาการ
​                  ตัวอักษรสีน้ำเงิน: ลักษณะสัณฐานภายนอกและ DNA ได้รับการยืนยัน ผลงานวิชาการได้รับการตีพิมพ์แล้ว ตาม 1–2
​                  1: Arsiranant, I., J. Xiao, P. Sriboonyuang, N. Jamsawang, W. Pengchumrus, N. Thongba, C. Aungtonya, U. Detsri, P. Kootsomboon and X. Zhang. 2020. The genus Phyllorhiza (Rhizostomeae: Mastgiidae) in the coastal waters of the Andaman Sea and the Gulf of Thailand. Phuket Marine Biological Center Research Bulletin no. 77: 61–76.
​                  2: Aungtonya, C., J. Xiao, X. Zhang and N. Wutthituntisil. 2018. The genus Chiropsoides (Chirodropida: Chiropsalmidae) from the Andaman Sea, Thai waters. Acta Oceanologica Sinica 37(10): 119–125.
​                  ตัวหนังสือสีแดง: อ้างอิงการแพร่กระจายจาก 3–5
​                  3: Daglio, L.G. and M.N, Dawson, 2017. Species richness of jellyfishes (Scyphozoa: Discomedusae) in the Tropical Eastern Pacific: missed taxa, molecules, and morphology match in a biodiversity hotspot. Invertebrate Systematics 31(5): 635–663.
​                  4: Sucharitakul, P., S. Chomdej, T. Achalawitkun and I. Arsiranant. 2017. Description of Chironex indrasaksajiae Sucharitakul sp. nov. (Cnidaria, Cubozoa, Chirodropidae): a new species of Box jellyfish from the Gulf of Thailand. Phuket Marine Biological Center Research Bulletin 74: 33–43.
​                  5: Toshino, S., H. Miyake, K. Srinui, N. Luangoon, V. Muthuwan, S. Sawtpeera, S. Honda and H. Shibata. 2017. Development of Tripedalia binata Moore, 1988 (Cubozoa: Carybdeida: Tripedaliidae) collected from the eastern Gulf of Thailand with implications for the phylogeny of the Cubozoa. Hydrobiologia 792: 37–51.
​                  6: Toshino, S., J. Nishikawa, K. Srinui, S. Taleb and H. Miyake. 2019. New records of two species of Cubozoa from Thailand. Plankton and Benthos Research 14(3): 143–149.

ตารางที่ 2 ความเป็นพิษของแมงกะพรุนที่พบในน่านน้ำไทย

ความเป็นพิษของแมงกะพรุนที่พบในน่านน้ำไทย

ปรับปรุงข้อมูล ณ วันที่ 30 มีนาคม 2565
องค์ความรู้ที่น่าสนใจ
  • อาณาเขตทางทะเล
    ประเทศไทย มีอาณาเขตทางทะเล (maritime zone) ตามอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 กว่า 350,000 ตารางกิโลเมตร ซึ่งมากกว่า 2 ใน 3 ของอาณาเขตทางบก ที่มีอยู่ประมาณ 513,000 ตารางกิโลเมตร โดยมีความยาวของชายฝั่งทะเล ทั้งฝั่งอ่าวไทยและอันดามัน รวมถึงช่องแคบมะละกาตอนเหนือ รวมความยาวชายฝั่งทะเลในประเทศไทยทั้งสิ้นกว่า 3,148.23 กิโลเมตร ครอบคลุม 23 จังหวัด
  • ป่าชายหาดและป่าพรุ
    ป่าชายหาดและป่าพรุ
  • ปูเสฉวนบก
    ปูเสฉวนบก
  • วาฬบรูด้า
    วาฬบรูด้า
  • ปลานกแก้ว
    ปลานกแก้ว
  • กัดเซาะชายฝั่ง
    ประเทศไทยมีชายฝั่งทะเลยาวประมาณ 3,151 กิโลเมตร ครอบคลุมจังหวัดชายฝั่งทะเล 23 จังหวัดโดยชายฝั่งทะเลด้านอ่าวไทย มีความยาว 2,040 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ 17 จังหวัด และชายฝั่งทะเลด้านอันดามัน มีความยาว 1,111 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ชายฝั่งทะเลรวม 6 จังหวัด
  • พื้นที่อนุรักษ์
    หมายถึง พื้นที่มีคุณค่าทางธรรมชาติ นิเวศ หรือวัฒนธรรมที่ควรจะอนุรักษ์ไว้สำหรับลูกหลานในอนาคต พื้นที่คุ้มครองถูกกำหนดขึ้นตามกฎหมายหรือกฎระเบียบอื่นๆ เพื่อให้เกิดการจัดการในรูปแบบต่างๆ เช่น อุทยานแห่งชาติ ป่าสงวน เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า การจัดการของพื้นที่คุ้มครองจะมีความหลากหลาย ตั้งแต่พื้นที่ที่มีการจำกัดการเข้าถึงของประชาชนจนถึงพื้นที่ ที่ประชาชนสามารถเข้าไปใช้ประโยชน์ได้ในระดับต่างกัน พื้นที่คุ้มครองครอบคลุมทั้งพื้นที่บนบกและในทะเล
  • ปะการัง
    เป็นแนวหินปูนใต้ทะเลในระดับน้ำตื้นที่แสงแดดส่องถึง หินปูนดังกล่าวเป็นผลมาจากการเจริญเติบโตของปะการังหลายๆ ชนิด นอกจากนี้ ยังมีสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
  • PMBC Research Bulletin
    PMBC Research Bulletin