ขนาด
ปฏิทินทะเล
  • 16 มิถุนายน 2566
  • 318
ปฏิทินทะเล สารสนเทศ ทช. ศูนย์ข้อมูลกลาง ทช.

แมงกะพรุนกล่อง (อันดามันตอนล่าง)

          สถาบันวิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง แจ้งเตือนว่าเนื่องจากช่วงเดือนเมษายน ถึงเดือนกันยายน เป็นช่วงที่พบแมงกะพรุนพิษกลุ่มนี้บริเวณแนวชายฝั่ง จังหวัดกระบี่ ตรัง และสตูล จำนวนมากเพื่อเป็นการแจ้งเตือนประชาชน และประชาสัมพันธ์การปฐมพยาบาลเบื้องต้นเมื่อสัมผัส สำหรับที่พบเป็นแมงกะพรุนกลุ่ม Cubozoa ชนิด Chiropsoides buitendjiki จำนวน 23 ตัว และหาดคลองดาว เกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ในวันที่ 4 มิถุนายน 2566 พบชนิด Chiropsoides buitendijiki จำนวน 82 ตัว และบริเวณหาดปากบารา จังหวัดสตูล ในวันที่ 6 มิถุนายน 2566 โดยพบแมงกะพรุนกลุ่ม Scyphozoa ชนิด Chrysaora chinensis จำนวน 34 ตัว และชนิด Lychnorhiza sp. จำนวน 462 ตัว แมงกะพรุนกลุ่ม Cubozoa ชนิด Chiropsoides buitendjki จำนวน 143 ตัว ชนิด Morbakka sp. จำนวน 41 ตัว แมงกะพรุน กลุ่ม Cubozoa จัดเป็นแมงกะพรุนที่มีพิษร้ายแรง

ปรับปรุงข้อมูล ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2566
องค์ความรู้ที่น่าสนใจ
  • ThaiToxicMarineLife
    ThaiToxicMarineLife
  • ป่าชายหาดและป่าพรุ
    ป่าชายหาดและป่าพรุ
  • พะยูน
    พะยูน
  • แมงกะพรุนพิษ
    เป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง จัดอยู่ในไฟลัมไนดาเรีย (Cnidaria) เช่นเดียวกันกับดอกไม้ทะเล (sea anemones) และปะการัง แมงกะพรุนที่พบได้บ่อยที่สุดจัดอยู่ในกลุ่ม Scyphozoa
  • น้ำมันรั่วไหล
    การเกิดน้ำมันรั่วไหล (Oil spill) ในทะเล และชายฝั่งอาจเกิดจากกิจกรรมต่าง ๆ ได้แก่ การขุดเจาะและขนส่งน้ำมัน การเดินเรือ การล้างถังอับเฉาเรือ ลักลอบทิ้งน้ำที่มีน้ำมันปนเปื้อนหรือน้ำมันที่ใช้แล้ว
  • อุทยานใต้ทะเล
    อุทยานใต้ทะเล
  • ปะการัง
    เป็นแนวหินปูนใต้ทะเลในระดับน้ำตื้นที่แสงแดดส่องถึง หินปูนดังกล่าวเป็นผลมาจากการเจริญเติบโตของปะการังหลายๆ ชนิด นอกจากนี้ ยังมีสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
  • พะยูน : มาเรียม
    พะยูน : มาเรียม
  • น้ำทะเลเปลี่ยนสี
    ปรากฎการณ์น้ำเปลี่ยนสีเกิดจากการเพิ่มปริมาณสารอาหารบริเวณชายฝั่ง ซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้แพลงก์ตอนเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว ปริมาณสารอาหารที่เพิ่มขึ้นส่วนใหญ่นั้นมักเกิดจากกิจกรรมของมนุษย์