ขนาด
ปฏิทินทะเล
  • 16 ตุลาคม 2557
  • 1,736
ปฏิทินทะเล สารสนเทศ ทช. ศูนย์ข้อมูลกลาง ทช.

ปฏิทินทะเลของไทย

          เพื่อเป็นการส่งเสริมการอนุรักษ์ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งในแต่ละพื้นที่ชายฝั่งทะเล กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง จึงได้สรุปการเกิดปรากฏการณ์สำคัญๆ ที่เกิดขึ้นในท้องทะเลไทยขึ้น เพื่อใช้ในการติดตาม เผ้าระวัง และเป็นข้อมูลให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและหน่วยงานในท้องถิ่นใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการบริหารจัดการพื้นที่และทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งที่สำคัญในพื้นที่ของตนเอง ทั้งนี้ ได้จัดทำปรากฎการณ์สำคัญที่เกิดขึ้นในแต่ละช่วงเวลาและในแต่ละพื้นที่ชายฝั่งทะเล ออกเป็นรายจังหวัด เพื่อให้ในแต่ละจังหวัดได้ทราบถึงปรากฎการณ์ที่เกิดขึ้นบ่อยๆ เป็นประจำในพื้นที่ของจังหวัดชายฝั่งทะเล โดยมีรายละเอียดข้อมูลตามปฏิทินรายเดือน
          หมายเหตุ รายละเอียดของปรากฎการณ์ที่เกิดขึ้น สามารถ Click ดูเพิ่มเติมได้จาก ชื่อของปรากฎการณ์ในแต่ละเดือนในตารางด้านล่างนี้ นอกจากนี้ ยังสามารถดูตำแหน่งของปรากฎการณ์ต่างๆ ได้จาก แผนที่ออนไลน์ ที่แสดงตำแหน่งของปรากฎการณ์ทางทะเลที่สำคัญๆ นี้ และสามารถเชื่อมโยงไปยังรายละเอียดของแต่ละทรัพยากรได้อีกทางหนึ่ง

อ่าวไทย
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
ตราด

 

















 
จันทบุรี




ระยอง


 




ชลบุรี



ฉะเชิงเทรา





 






สมุทรปราการ


กรุงเทพมหานคร


สมุทรสาคร














สมุทรสงคราม


เพชรบุรี





























ประจวบคีรีขันธ์



ชุมพร



สุราษฎร์ธานี



นครศรีธรรมราช









พัทลุง

สงขลา

ปัตตานี


นราธิวาส


อันดามัน
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
ระนอง


 





พังงา



ภูเก็ต







กระบี่








ตรัง












สตูล
























 


*** หมายเหตุ ***


วาฬบรูด้า

โลมาอิรวดี

โลมาเผือก

แมงกะพรุนหลากสี

แมงกะพรุนหัวขวด

แมงกะพรุนกล่อง

ปะการังฟอกขาว

คลื่นพายุซัดฝั่ง

ต้นโกงกางยักษ์

ชมไม้ป่าชายเลน

หาดทรายดำ

สันหลังมังกรน้อย

ปรากฎการณ์น้ำเบียด

พายุงวงช้าง

ใบไม้เปลี่ยนสี

Algae Bloom

 

องค์ความรู้ที่น่าสนใจ
  • หญ้าทะเล
    หญ้าทะเล
  • พื้นที่อนุรักษ์
    หมายถึง พื้นที่มีคุณค่าทางธรรมชาติ นิเวศ หรือวัฒนธรรมที่ควรจะอนุรักษ์ไว้สำหรับลูกหลานในอนาคต พื้นที่คุ้มครองถูกกำหนดขึ้นตามกฎหมายหรือกฎระเบียบอื่นๆ เพื่อให้เกิดการจัดการในรูปแบบต่างๆ เช่น อุทยานแห่งชาติ ป่าสงวน เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า การจัดการของพื้นที่คุ้มครองจะมีความหลากหลาย ตั้งแต่พื้นที่ที่มีการจำกัดการเข้าถึงของประชาชนจนถึงพื้นที่ ที่ประชาชนสามารถเข้าไปใช้ประโยชน์ได้ในระดับต่างกัน พื้นที่คุ้มครองครอบคลุมทั้งพื้นที่บนบกและในทะเล
  • อาณาเขตทางทะเล
    ประเทศไทย มีอาณาเขตทางทะเล (maritime zone) ตามอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 กว่า 350,000 ตารางกิโลเมตร ซึ่งมากกว่า 2 ใน 3 ของอาณาเขตทางบก ที่มีอยู่ประมาณ 513,000 ตารางกิโลเมตร โดยมีความยาวของชายฝั่งทะเล ทั้งฝั่งอ่าวไทยและอันดามัน รวมถึงช่องแคบมะละกาตอนเหนือ รวมความยาวชายฝั่งทะเลในประเทศไทยทั้งสิ้นกว่า 3,148.23 กิโลเมตร ครอบคลุม 23 จังหวัด
  • ทุ่นในทะเล
    ทุ่นในทะเล
  • น้ำทะเลเปลี่ยนสี
    ปรากฎการณ์น้ำเปลี่ยนสีเกิดจากการเพิ่มปริมาณสารอาหารบริเวณชายฝั่ง ซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้แพลงก์ตอนเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว ปริมาณสารอาหารที่เพิ่มขึ้นส่วนใหญ่นั้นมักเกิดจากกิจกรรมของมนุษย์
  • กัดเซาะชายฝั่ง
    ประเทศไทยมีชายฝั่งทะเลยาวประมาณ 3,151 กิโลเมตร ครอบคลุมจังหวัดชายฝั่งทะเล 23 จังหวัดโดยชายฝั่งทะเลด้านอ่าวไทย มีความยาว 2,040 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ 17 จังหวัด และชายฝั่งทะเลด้านอันดามัน มีความยาว 1,111 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ชายฝั่งทะเลรวม 6 จังหวัด
  • เต่ามะเฟือง
    เต่ามะเฟือง
  • แมงกะพรุนพิษ
    เป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง จัดอยู่ในไฟลัมไนดาเรีย (Cnidaria) เช่นเดียวกันกับดอกไม้ทะเล (sea anemones) และปะการัง แมงกะพรุนที่พบได้บ่อยที่สุดจัดอยู่ในกลุ่ม Scyphozoa
  • ป่าชายเลน
    ป่าชายเลน