ขนาด
ปฏิทินทะเล
  • 16 ตุลาคม 2557
  • 1,773
ปฏิทินทะเล สารสนเทศ ทช. ศูนย์ข้อมูลกลาง ทช.

ปฏิทินทะเลของไทย

          เพื่อเป็นการส่งเสริมการอนุรักษ์ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งในแต่ละพื้นที่ชายฝั่งทะเล กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง จึงได้สรุปการเกิดปรากฏการณ์สำคัญๆ ที่เกิดขึ้นในท้องทะเลไทยขึ้น เพื่อใช้ในการติดตาม เผ้าระวัง และเป็นข้อมูลให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและหน่วยงานในท้องถิ่นใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการบริหารจัดการพื้นที่และทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งที่สำคัญในพื้นที่ของตนเอง ทั้งนี้ ได้จัดทำปรากฎการณ์สำคัญที่เกิดขึ้นในแต่ละช่วงเวลาและในแต่ละพื้นที่ชายฝั่งทะเล ออกเป็นรายจังหวัด เพื่อให้ในแต่ละจังหวัดได้ทราบถึงปรากฎการณ์ที่เกิดขึ้นบ่อยๆ เป็นประจำในพื้นที่ของจังหวัดชายฝั่งทะเล โดยมีรายละเอียดข้อมูลตามปฏิทินรายเดือน
          หมายเหตุ รายละเอียดของปรากฎการณ์ที่เกิดขึ้น สามารถ Click ดูเพิ่มเติมได้จาก ชื่อของปรากฎการณ์ในแต่ละเดือนในตารางด้านล่างนี้ นอกจากนี้ ยังสามารถดูตำแหน่งของปรากฎการณ์ต่างๆ ได้จาก แผนที่ออนไลน์ ที่แสดงตำแหน่งของปรากฎการณ์ทางทะเลที่สำคัญๆ นี้ และสามารถเชื่อมโยงไปยังรายละเอียดของแต่ละทรัพยากรได้อีกทางหนึ่ง

อ่าวไทย
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
ตราด

 

















 
จันทบุรี




ระยอง


 




ชลบุรี



ฉะเชิงเทรา





 






สมุทรปราการ


กรุงเทพมหานคร


สมุทรสาคร














สมุทรสงคราม


เพชรบุรี





























ประจวบคีรีขันธ์



ชุมพร



สุราษฎร์ธานี



นครศรีธรรมราช









พัทลุง

สงขลา

ปัตตานี


นราธิวาส


อันดามัน
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
ระนอง


 





พังงา



ภูเก็ต







กระบี่








ตรัง












สตูล
























 


*** หมายเหตุ ***


วาฬบรูด้า

โลมาอิรวดี

โลมาเผือก

แมงกะพรุนหลากสี

แมงกะพรุนหัวขวด

แมงกะพรุนกล่อง

ปะการังฟอกขาว

คลื่นพายุซัดฝั่ง

ต้นโกงกางยักษ์

ชมไม้ป่าชายเลน

หาดทรายดำ

สันหลังมังกรน้อย

ปรากฎการณ์น้ำเบียด

พายุงวงช้าง

ใบไม้เปลี่ยนสี

Algae Bloom

 

องค์ความรู้ที่น่าสนใจ
  • พะยูน
    พะยูน
  • ปะการังฟอกขาว
    ปะการังฟอกขาว เป็นสภาวะที่ปะการังสูญเสียสาหร่ายเซลล์เดียวที่อาศัยอยู่ภายในเนื้อเยื่อ ทำให้ปะการังอ่อนแอเพราะได้รับสารอาหารไม่เพียงพอแลปะการังอาจตายไปในที่สุดถ้าหากไม่สามารถทนต่อสภาวะนี้ได้
  • แมงกะพรุนพิษ
    เป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง จัดอยู่ในไฟลัมไนดาเรีย (Cnidaria) เช่นเดียวกันกับดอกไม้ทะเล (sea anemones) และปะการัง แมงกะพรุนที่พบได้บ่อยที่สุดจัดอยู่ในกลุ่ม Scyphozoa
  • ปลานกแก้ว
    ปลานกแก้ว
  • หาดในประเทศไทย
    จากการสำรวจแหล่งธรรมชาติประเภทหาดทรายทั่วประเทศ ของกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในปี 2560 พบว่ามีชายหาดรวม 521 แห่ง กระจายตัวอยู่ในพื้นที่ 21 จังหวัด โดยอยู่ทางฝั่งอ่าวไทย 360 แห่ง แบ่งเป็นชายหาดที่อยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติ (กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช) 49 แห่ง อยู่ในความรับผิดชอบของหน่วยงานอื่นๆ เช่น ท้องถิ่น กองทัพเรือ และส่วนราชการอื่นๆ อีก 311 แห่ง สำหรับข้อมูลชายหาดฝั่งทะเลอันดามัน พบว่ามีชายหาด 161 แห่ง อยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติ 78 แห่ง นอกเขตอุทยานแห่งชาติ 83 แห่ง
  • เต่ามะเฟือง
    เต่ามะเฟือง
  • คลื่นย้อนกลับ Rip Currents
    กระแสน้ำรูปเห็ด
  • เกาะในประเทศไทย
    เกาะ หมายถึง บริเวณที่ดิน หิน หรือทรายที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ ล้อมรอบด้วยน้ำและอยู่เหนือน้ำตลอดเวลา ทั้งนี้เกาะอาจอยู่ในทะเล แม่น้ำ หรือที่ลุ่มขัง เช่น บึง หรือทะเลสาบก็ได้
  • ThaiToxicMarineLife
    ThaiToxicMarineLife